Four Farm
พืชผัก

วิธีปลูก ถั่วพลู ฉบับจับมือทำ

Winged beans (Tua Poo) isolated on white background

วิธีปลูก ถั่วพลู ฉบับจับมือทำ

ถั่วพลูเป็นพืชที่นิยมปลูกเป็น ผักสวนครัว แต่สำหรับการปลูกเพื่อทำเป็นการค้า จะนิยมปลูกเพื่อ 3 จุดประสงค์ คือ ปลูกเพื่อเก็บเมล็ดพันธุ์(ขยายพันธุ์) ปลูกเพื่อเก็บฝักอ่อนขาย และปลูกเพื่อเก็บหัวขาย ถั่วพูยังเป็นพืชที่นิยมปลูกเป็นพืชคลุมดิน เมื่อถั่วพลูออกดอกจะไถกลบลงดิน ในรากของถั่วพลูมี ไนโตรเจน สูงมาก ซึ่งเป็นแหล่งอาหารของพืชชั้นดี

แหล่งที่ปลูก

การเตรียมเมล็ดก่อนเพาะ

การเตรียมดิน

ไถพรวนดิน หลังจากนั้นตากดินทิ้งไว้ประมาณ 2 อาทิตย์ เพื่อกำจัด วัชพืช โรค ไข่ และตัวอ่อนของแมลง ในดิน และใส่ปุ๋ยคอกปุ๋ยหมัก 2 – 3 ต้น/ไร่ เพื่อให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์

การปลูกถั่วพลู

วิธีการปลูก

นำดินเพาะปลูกใส่ในถาด หรือถุงเพาะชำ และหยอดเมล็ดลงในถาดหรือถุงเพาะที่เตรียมไว้ ถาดหรือถุงละ 3 – 5 เมล็ด จากนั้นรดน้ำ วันละ 1 – 2 ครั้ง ดูแลจนครบ 15 วัน จึงย้ายกล้าลงปลูกในหลุมที่เตรียมไว้  ซึ่งจำเป็นต้องยกร่องสำหรับป้องกันน้ำท่วม ความกว้างของร่องประมาณ 30 ซม. และความสูงประมาณ 20 ซม. บนร่องหลุมทำหลุมปลูกระยะห่าง ระหว่างหลุมประมาณ 60 – 120 ซม. และระยะห่างแถว  1 – 2 เมตร 30 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก และปุ๋ยรองพื้น สูตรเสมอ เช่น 16 – 16 – 16 เป็นต้น

การเตรียมหลุมปลูกจำเป็นต้องยกร่องเช่นกัน ความกว้างของร่องประมาณ 30 ซม. และความสูงประมาณ 20 ซม. บนร่องหลุมทำหลุมปลูกระยะห่าง ระหว่างหลุมประมาณ 60 – 120 ซม. และระยะห่างแถว  1 – 2 เมตร 30 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก และปุ๋ยรองพื้น สูตรเสมอ เช่น 16 – 16 – 16 เป็นต้น เช่นเดียวกับวิธีเพาะกล้า

การดูแลแลรักษา

การให้น้ำ

รดน้ำวันละ 1 – 2 ครั้ง ขึ้นอยู่กับความชื้นในดิน แต่ควรระวังการรดน้ำในช่วงเย็น อาจทำให้ถั่วพลูชื้นและเกิดโรคได้ ในทางกลับกันหากถั่วพลูขาดน้ำ ก็อาจทำให้ผลผลิตหดสั้นเช่นเดียวกัน

การใสปุ๋ย

แบ่งได้ทั้งหมด 3 ช่วงอายุ

  1. ระยะแรก ใส่ปุ๋ยที่เน้นตัวหน้าสูง เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เช่น สูตร 25-7-7 หรือ สูตรเสมอ เป็นต้น
  2. ระยะถั่วพลูเริ่มแทงช่อดอก(ประมาณ 60 วัน) ใส่ปุ๋ยที่เน้นตัวกลางสูง เพื่อบำรุงดอก เช่น 8 -24 -24 เป็นต้น ทุกๆ 15 วัน
  3. ระยะถั่วพลูให้ผลผลิต ใส่ปุ๋ยที่เน้นตัวกลาง และตัวหลังสูง เพื่อบำรุงทั้งดอกที่เพิ่งแทงใหม่ และเพิ่มน้ำหนักผล สร้างแป้งไปพร้อมๆกัน เช่น 8 – 24 -24 หรือ 13 -13 -21 เป็นต้น ทุกๆ 15 วัน

การทำค้าง

ถั่วพลูสามารถปลูกได้ทั้งแบบค้าง และไร้ค้าง แต่หากปลูกแบบค้างจะให้ผลผลิตที่ดีกว่า และค้างที่นิยมใช้ คือ ค้างแบบซุ้ม โดยสามารถหากความรู้เพิ่มเติม เรื่อง วิธีทำค้างผัก ได้ที่นี่

วิธีการเก็บเกี่ยว

ต้นทุนการผลิต แตงโมต่อพื้นที่ 1 ไร่

ผลตอบแทน

2000 กก./ไร่ x ราคาขาย 25 บาท/กก. รวมรายได้ประมาณ 50000 บาท/ไร่

โรคของถั่วพลู

โรคราสนิม

สาเหตุ เชื้อรา Uromyces fabae Pers

ลักษณะอาการ ใต้ใบถั่วฝักยาวจะมีจุดขนาดเล็กสีน้ำตาลแดงคล้ายสนิม จะเกิดกับใบล่างๆของลำต้นก่อน เมื่เกิดอาการรุนแรงจะทำให้ใบร่วงหล่น

การป้องกันกำจัด

โรคใบจุด

สาเหตุ เชื้อรา Cercospora sp.

การแพร่ระบาด แพร่ระบาดไปกับลมและฝน

ลักษณะอาการ มีแผลเป็นจุดสีน้ำตาล บริเวณกลางแผลมีสีเทา ในอาการที่รุนแรงใบถั่วฝักยาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล

การป้องกันกำจัด

แมลงศัตรูพืชของถั่วพลู

หนอนกระทู้ผัก

หนอนกระทู้ผัก

ลักษณะการทำลาย ตัวหนอนจะกัดกินใบ ก้านใบหรือเข้าทำลายหัวปลี ทำลายเป็นหย่อมๆ ตามจุดที่ผีเสื้อวางไข่

แนวทางการป้องกันกำจัด

เพลี้ยอ่อน

ลักษณะการทำลาย ดูดกินน้ำเลี้ยงของยอดและฝักถั่วฝักยาว ทำให้ลำต้นแคระ ฝักมีขนาดเล็กลง

การป้องกันกำจัด

เพลี้ยไฟลักษณะการทำลาย   ดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดอ่อน ทำให้ปลายใบเหี่ยวขอบใบม้วนหงิก โดยจะเริ่มเป็นจากยอดอ่อนของแตงโม

วิธีการป้องกัน    

  1. อย่าให้พืชขาดน้ำ เพราะจะทำให้พืชอ่อนแอ
  2. ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน(พอส) เป็นต้น
  3. ใช้สารเคมีในกลุ่ม spinosyn เช่น สไปนีโทแรม(เอ็กซอล) เป็นต้น
  4. ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethroid เช่น ไซเพอร์เมทริน(ฮุค),เดลทาเมทริน(เดซิส), เพอร์เมธริน,  เรสเมธริน,  หรือ ไบโอเรสเมธริน เป็นต้น
  5. ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล(แอสเซนด์) เป็นต้น
  6. ใช้สารเคมีในกลุ่ม Organophosphate เช่น โพรฟีโนฟอส(เปเป้) เป็นต้น
  7. ใช้สารเคมีในกลุ่ม Avermectin เช่น อะบาเม็กติน(ต็อดติ), อิมาเม็กตินเบนโซเอต(เดอะฮัก) เป็นต้น
  8. ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid  เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี) , ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ฟาเดีย) เป็นต้น
  9. ใช้สารเคมีประเภทสารจับใบ

Related posts

บร็อคโคลี่ ผักมีประโยชน์ สร้างรายได้

admin
5 years ago

เทคนิคเพาะเห็ดฟางในวงบ่อ ปลูกง่าย โตเร็ว ได้ราคาดี

admin
5 years ago

การปลูกพืชไร้ดิน หรือ ไฮโดรโปนิกส์

Kaset Pro
2 years ago
Exit mobile version